อยู่ตรงนี้ดีกว่า ขอแค่มองเธอไกลไกล
แค่เก็บเธอไว้ในใจ ไม่ต้องการจะผูกพัน
ไม่ได้เรียกร้องอะไร
ขอแค่มองแค่ได้ฝันไม่สำคัญ ว่าเธอนั้นมีใคร
แอบส่งยิ้มให้เธอ แม้ว่าเธอไม่เห็นมัน
ยังเก็บไปฝันกลางวัน แม้ว่ามันไร้จุดหมาย
เก็บความหวั่นไหวที่มี กับรักครั้งนี้เป็นไปไม่ได้
ไม่เป็นไร สุขหัวใจแค่ได้ฝัน
แค่ขอ เป็นคนห่วงใย ได้รักไกลไกล
คิดถึงใกล้ใกล้เท่านั้น
ไม่คิด จะไปยืนแทนเขาคนนั้น
ได้แค่ฝัน ฉันขอแค่นั้นก็พอใจ
แอบส่งยิ้มทุกวัน แม้ว่ามันเหมือนคนบ้า
ยังคิดถึงทุกเวลา แม้ว่าฟ้าไม่เข้าใจ
เก็บความหวั่นไหวที่มี กับรักครั้งนี้เป็นไปไม่ได้
ไม่เป็นไร สุขหัวใจแค่ได้ฝัน
แค่ขอ เป็นคนห่วงใย ได้รักไกลไกล
คิดถึงใกล้ใกล้เท่านั้น
ไม่คิด จะไปยืนแทนเขาคนนั้น
ได้แค่ฝัน ฉันขอแค่นั้นก็พอใจ
แค่ขอ เป็นคนห่วงใย ได้รักไกลไกล
คิดถึงใกล้ใกล้เท่านั้น
ไม่คิด จะไปยืนแทนเขาคนนั้น
ได้แค่ฝัน ฉันขอแค่นั้นก็พอใจ
สุขแค่ฝัน ฉันขอแค่นั้นก็พอใจ
วันอาทิตย์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2555
มาฆบูชา..วันสำคัญของพระพุทธศาสนา
นมาฆบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งสำหรับชาวพุทธ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓
หากปีใด เป็นอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหนจะเลื่อนไปตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔
หลังจากการตรัสรู้ของสัมมาสัมพุทธเจ้า ๙ เดือน ได้มีพระสาวกเดินทางมาเฝ้าพระพุทธองค์พร้อมกันเป็นครั้งแรกโดยมิได้นัดหมายเป็นจำนวนถึง ๑ ,๒๕๐ รูป ณ เวฬุวันมหาวิหาร ชานเมืองราชคฤห์ เมืองหลวงของแควันมคธ ประเทศอินเดีย
การประชุมครั้งใหญ่ของพระสาวกนี้เรียกว่า “มหาสันนิบาต”
มีลักษณะพิเศษ ๔ ประการเรียกว่า “จาตุรงคสันนิบาต” กล่าวคือ
๑.เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ หรือ มาฆมาส
๒.มีพระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ๑ ,๒๕๐ รูป
๓.พระสงฆ์เหล่านี้ ล้วนเป็นพระที่บวชโดยพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น เรียกว่า “เอหิภิกขุอุปสัมปทา ”
๔.พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา ๖
พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศหลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนาเสมือนหนึ่งรัฐธรรมนูญที่ใช้เป็นกฎหมายแม่บทสำคัญสูงสุดของประเทศ
คือทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ ให้พระสาวกถือเป็นหลักปฏิบัติเพื่อนำไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีเนื้อหา ๓ ประการ
๑. อุดมการณ์
พระพุทธศาสนามีจุดหมายสูงสุด ได้แก่ พระนิพพาน คือการดับสูญจากกิเลศ และทุกข์ทั้งปวง อันจะทำสำเร็จได้ด้วยพึ่งตนพากเพียรด้วยการกระทำของตนเอง ไม่ใช้สำเร็จด้วยการอ้อนวอนร้องขอจากเทพองค์ใด
อุดมการณ์ ๔ ได้แก่
- ความอดทน อดกลั้น คือ ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ
- ความไม่เบียดเบียน คือ งดเว้นจากการทำร้าย หรือ เบียดเบียนผู้อื่น
- ความสงบ ได้แก่ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจาและทางใจ
- นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา
๒. หลักการ
หลักคำสอนอันเป็นหัวใจในด้านปฏิบัติของพระพุทธศาสนาคือ
- ไม่ทำความชั่วทั้งปวง
- ทำกุศลธรรมความดีให้ถึงพร้อม
- ทำจิตใจของตนให้บริสุทธิ์ผ่องใส
๓. วิธีการ
พุทธวิธีในการนำธรรมะสู่จิตใจชาวโลกด้วยเมตตา
- ไม่มีการกล่าวร้ายใคร
- ไม่มีการทำร้ายใคร
- รักษาวินัยเคร่งครัด
- รู้จักประมาณในการกินอาหาร
- อยู่ในที่อันสงบสงัด
- ฝึกฝนพัฒนาจิตใจให้สูงขึ้น ด้วยการบำเพ็ญสมาธิอยู่เสมอ
การปฏิบัติพุทธศาสนากิจในวันมาฆบูชา ที่นิยมโดยทั่วไป ก็คือ
-ทำบุญตักบาตร หรือนำภัตตาหารไปถวายพระสงฆ์แล้ว กรวดน้ำ แผ่ส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว
-บริจาค ให้ทาน แก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคม
-การปล่อยสัตว์ เช่น โค กระบือ นก ปลา เป็นต้น
-ฟังธรรมะ รักษาศิล ๕ ศิล ๘ เป็นต้น
-บำเพ็ญภาวนา ทำสมาธิ – วิปัสสนากัมมัฎฐาน
-นำดอกไม้ธูปเทียนไปเวียนเทียนที่พุทธสถานต่างๆ เช่น ที่วัดต่างๆ ที่ท้องสนามหลวง หรือที่พุทธ มณฑล เป็นต้น
จะพากันนำดอกไม้ ธูปเทียน ไปที่วัดเพื่อชุมนุมกันทำพิธีเวียนเทียน รอบพระอุโบสถ พร้อมกับพระภิกษุสงฆ์โดยเจ้าอาวาสจะนำว่า นะโม ๓ จบ จากนั้นกล่าวคำ ถวาย ดอกไม้ธูปเทียน ทุกคนว่าตาม จบแล้วเดิน เวียนขวา ตลอดเวลาให้ระลึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จนครบ ๓ รอบ แล้วนำดอกไม้ ธูปเทียนไปปักบูชาตามที่ทางวัด เตรียมไว้ เป็นอันเสร็จพิธี
Cr: teenee.com
หากปีใด เป็นอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหนจะเลื่อนไปตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔
หลังจากการตรัสรู้ของสัมมาสัมพุทธเจ้า ๙ เดือน ได้มีพระสาวกเดินทางมาเฝ้าพระพุทธองค์พร้อมกันเป็นครั้งแรกโดยมิได้นัดหมายเป็นจำนวนถึง ๑ ,๒๕๐ รูป ณ เวฬุวันมหาวิหาร ชานเมืองราชคฤห์ เมืองหลวงของแควันมคธ ประเทศอินเดีย
การประชุมครั้งใหญ่ของพระสาวกนี้เรียกว่า “มหาสันนิบาต”
มีลักษณะพิเศษ ๔ ประการเรียกว่า “จาตุรงคสันนิบาต” กล่าวคือ
๑.เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ หรือ มาฆมาส
๒.มีพระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ๑ ,๒๕๐ รูป
๓.พระสงฆ์เหล่านี้ ล้วนเป็นพระที่บวชโดยพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น เรียกว่า “เอหิภิกขุอุปสัมปทา ”
๔.พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา ๖
พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศหลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนาเสมือนหนึ่งรัฐธรรมนูญที่ใช้เป็นกฎหมายแม่บทสำคัญสูงสุดของประเทศ
คือทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ ให้พระสาวกถือเป็นหลักปฏิบัติเพื่อนำไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีเนื้อหา ๓ ประการ
๑. อุดมการณ์
พระพุทธศาสนามีจุดหมายสูงสุด ได้แก่ พระนิพพาน คือการดับสูญจากกิเลศ และทุกข์ทั้งปวง อันจะทำสำเร็จได้ด้วยพึ่งตนพากเพียรด้วยการกระทำของตนเอง ไม่ใช้สำเร็จด้วยการอ้อนวอนร้องขอจากเทพองค์ใด
อุดมการณ์ ๔ ได้แก่
- ความอดทน อดกลั้น คือ ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ
- ความไม่เบียดเบียน คือ งดเว้นจากการทำร้าย หรือ เบียดเบียนผู้อื่น
- ความสงบ ได้แก่ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจาและทางใจ
- นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา
๒. หลักการ
หลักคำสอนอันเป็นหัวใจในด้านปฏิบัติของพระพุทธศาสนาคือ
- ไม่ทำความชั่วทั้งปวง
- ทำกุศลธรรมความดีให้ถึงพร้อม
- ทำจิตใจของตนให้บริสุทธิ์ผ่องใส
๓. วิธีการ
พุทธวิธีในการนำธรรมะสู่จิตใจชาวโลกด้วยเมตตา
- ไม่มีการกล่าวร้ายใคร
- ไม่มีการทำร้ายใคร
- รักษาวินัยเคร่งครัด
- รู้จักประมาณในการกินอาหาร
- อยู่ในที่อันสงบสงัด
- ฝึกฝนพัฒนาจิตใจให้สูงขึ้น ด้วยการบำเพ็ญสมาธิอยู่เสมอ
การปฏิบัติพุทธศาสนากิจในวันมาฆบูชา ที่นิยมโดยทั่วไป ก็คือ
-ทำบุญตักบาตร หรือนำภัตตาหารไปถวายพระสงฆ์แล้ว กรวดน้ำ แผ่ส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว
-บริจาค ให้ทาน แก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคม
-การปล่อยสัตว์ เช่น โค กระบือ นก ปลา เป็นต้น
-ฟังธรรมะ รักษาศิล ๕ ศิล ๘ เป็นต้น
-บำเพ็ญภาวนา ทำสมาธิ – วิปัสสนากัมมัฎฐาน
-นำดอกไม้ธูปเทียนไปเวียนเทียนที่พุทธสถานต่างๆ เช่น ที่วัดต่างๆ ที่ท้องสนามหลวง หรือที่พุทธ มณฑล เป็นต้น
จะพากันนำดอกไม้ ธูปเทียน ไปที่วัดเพื่อชุมนุมกันทำพิธีเวียนเทียน รอบพระอุโบสถ พร้อมกับพระภิกษุสงฆ์โดยเจ้าอาวาสจะนำว่า นะโม ๓ จบ จากนั้นกล่าวคำ ถวาย ดอกไม้ธูปเทียน ทุกคนว่าตาม จบแล้วเดิน เวียนขวา ตลอดเวลาให้ระลึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จนครบ ๓ รอบ แล้วนำดอกไม้ ธูปเทียนไปปักบูชาตามที่ทางวัด เตรียมไว้ เป็นอันเสร็จพิธี
Cr: teenee.com
วันจันทร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2555
ความประทับใจเมื่อแรกพบสร้างได้
First Impression เป็นคำคุ้นหูเมื่อต้องตกอยู่ในสถานการณ์พบคนแปลกหน้า และยิ่งต้องสร้างสัมพันธไมตรี ภาพลักษณ์เมื่อแรกเห็นยิ่งสำคัญ เพราะธรรมชาติของคนเรามักตัดสินคนจากภายนอกในครั้งแรกที่เจอ ฉะนั้นการทำให้คู่สนทนาส่งความรู้สึกดีๆให้ ทำได้ไม่ยาก เพียง...
รักษาเวลา เพราะเวลาเป็นตัวสะท้อนความสนใจ ใส่ใจ และความรับผิดชอบของคุณ
เตรียมความพร้อมก่อนเจอกัน เริ่มจากแต่งกายให้เหมาะสมถูกกาลเทศะ คำนึงถึงความสะอาดสะอ้านของเสื้อผ้า การให้เกียรติกับกิจกรรมที่เข้าร่วม ให้เกียรติเจ้าของงาน และให้เกียรติสถานที่ อีกทั้งควรศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่จะไปนำเสนองาน เพราะการรู้เขารู้เราจะทำให้มีชัยไปกว่าครึ่ง
รอยยิ้มแห่งชัยชนะ ขอให้นึกไว้เสมอว่าคุณยิ้มโลกยิ้ม เพราะรอยยิ้มเป็นใบเบิกทางเชื่อมไมตรีที่ดีที่สุด รอยยิ้มที่อบอุ่นแฝงไปด้วยความเชื่อมั่นจะทำให้คุณเป็นคนที่น่าสนใจอย่างคาดไม่ถึง
เป็นตัวของตัวเอง อย่าเรื่องมาก จะช่วยให้คุณดูผ่อนคลายและมิตร แต่อย่าเป็นตัวของตัวเองจนเกินขอบเขต เพราะอาจทำให้คู่สนทนาอึดอัดและเข้าถึงยาก
การพูดคุยให้ประทับใจ หลังรู้จักและทักทายกันแล้ว หัวข้อสนทนาต่อไปควรเป็นคำถามปลายเปิดซึ่งคิดว่าคู่สนทนาสามารถตอบได้โดยไม่อึดอัดใจ และระหว่างรับฟังคุณควรแสดงความกระตือรือร้น ซักถามด้วยความจริงใจ เพราะจะทำให้คู่สนทนาภูมิใจที่ได้เล่า ส่งผลให้การสนทนาออกรส
สุภาพและใส่ใจรายละเอียดเล็กน้อย การเป็นคนมีมารยาทดีและใช้ภาษาสุภาพจะทำให้คู่สนทนาประทับใจ ส่วนการใส่ใจในรายละเอียดเล็กน้อยจะทำให้คู่สนทนารู้สึกได้ถึงความรอบคอบของคุณ เช่น การปิดโทรศัพท์มือถือขณะร่วมประชุม
Cr: teenee.com
รักษาเวลา เพราะเวลาเป็นตัวสะท้อนความสนใจ ใส่ใจ และความรับผิดชอบของคุณ
เตรียมความพร้อมก่อนเจอกัน เริ่มจากแต่งกายให้เหมาะสมถูกกาลเทศะ คำนึงถึงความสะอาดสะอ้านของเสื้อผ้า การให้เกียรติกับกิจกรรมที่เข้าร่วม ให้เกียรติเจ้าของงาน และให้เกียรติสถานที่ อีกทั้งควรศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่จะไปนำเสนองาน เพราะการรู้เขารู้เราจะทำให้มีชัยไปกว่าครึ่ง
รอยยิ้มแห่งชัยชนะ ขอให้นึกไว้เสมอว่าคุณยิ้มโลกยิ้ม เพราะรอยยิ้มเป็นใบเบิกทางเชื่อมไมตรีที่ดีที่สุด รอยยิ้มที่อบอุ่นแฝงไปด้วยความเชื่อมั่นจะทำให้คุณเป็นคนที่น่าสนใจอย่างคาดไม่ถึง
เป็นตัวของตัวเอง อย่าเรื่องมาก จะช่วยให้คุณดูผ่อนคลายและมิตร แต่อย่าเป็นตัวของตัวเองจนเกินขอบเขต เพราะอาจทำให้คู่สนทนาอึดอัดและเข้าถึงยาก
การพูดคุยให้ประทับใจ หลังรู้จักและทักทายกันแล้ว หัวข้อสนทนาต่อไปควรเป็นคำถามปลายเปิดซึ่งคิดว่าคู่สนทนาสามารถตอบได้โดยไม่อึดอัดใจ และระหว่างรับฟังคุณควรแสดงความกระตือรือร้น ซักถามด้วยความจริงใจ เพราะจะทำให้คู่สนทนาภูมิใจที่ได้เล่า ส่งผลให้การสนทนาออกรส
สุภาพและใส่ใจรายละเอียดเล็กน้อย การเป็นคนมีมารยาทดีและใช้ภาษาสุภาพจะทำให้คู่สนทนาประทับใจ ส่วนการใส่ใจในรายละเอียดเล็กน้อยจะทำให้คู่สนทนารู้สึกได้ถึงความรอบคอบของคุณ เช่น การปิดโทรศัพท์มือถือขณะร่วมประชุม
Cr: teenee.com
วันศุกร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2555
วิธีลดอาการกรดไหลย้อน(เกิร์ดหรือ GERD)
(1). กินมื้อเล็กๆ (eat smaller meals)
อาหารมื้อเล็กๆ ค้างอยู่ในกระเพาะอาหารไม่นาน อาหารมื้อใหญ่ค้างอยู่นานหลายชั่วโมง ทำให้โอกาสเกิดการไหลย้อน (reflux) เพิ่มขึ้น
ให้ลองกินมื้อเล็กๆ วันละหลายๆ มื้อดู เช่น วันละ 4-5 มื้อเล็กๆ แทน 2-3 มื้อใหญ่ๆ ฯลฯ
(2). ผ่อนคลาย (relax)
ความเครียดทำให้กระเพาะฯ หลั่งกรดออกมามากขึ้น เพราะฉะนั้นขอให้นั่งลง... กินช้าๆ เคี้ยวช้าๆ ไม่รีบร้อน
หลังจากนั้นให้หาอะไรที่คลายเครียดทำเพิ่มขึ้น เช่น ฝึกหายใจช้าๆ ลึกๆ (deep breathing) ฝึกสมาธิ ไทเกก-ไทชิ โยคะ ฯลฯ
(3). ตั้งตัวตรงเข้าไว้ (remain upright)
ให้ตั้งตัวตรง (นั่งหรือยืน) หลังอาหารอย่างน้อย 3 ชั่วโมง นั่นคือ "เพลไม่เพล(เพล = ฉันหรือกินข้าวเที่ยง; ไม่เพล = มื้ออื่นๆ)ก็อย่าเพิ่งเอน"
การนอนหลังอาหาร ก้มตัวลงนานๆ หรือยกของหนักหลังอาหารจะทำให้กรดไหลย้อนได้ง่าย เรื่องนี้เปรียบคล้ายขวดใส่น้ำ... ถ้าจับขวดตั้งไว้ น้ำคงจะไม่หกง่ายๆ แต่ถ้าเอียงขวดลง น้ำจะหกออกจากขวดได้ง่ายขึ้น
(4). อย่ากินมื่อใหญ่ก่อนนอน (avoid eating)
อย่ากินอาหารมื้อใหญ่ก่อนนอนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง
(5). ลดน้ำหนัก (lose weight) ถ้าจำเป็น
น้ำหนักที่เกินจะทำให้ไขมันใต้ผิวหนังรอบพุง และไขมันในช่องท้องเพิ่มขึ้น ทำให้ความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น บีบกระเพาะฯ ทำให้กรดไหลย้อนได้ง่าย
ถ้าช่องท้อง "เบา โล่ง โปร่ง สบาย" หน่อย... โอกาสกรดไหลย้อนจะลดลง
(6). ไม่สวมเสื้อผ้าคับ (loosen up = ทำให้หลวม)
ไม่ควรสวมเข็มขัด รัดประคต(สายคาดเอวพระ) หรือสายคาดเอวแน่น และไม่สวมเสื้อผ้าคับรัดรูป
การสวมเสื้อผ้าคับทำให้แรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น โอกาสเกิดกรดไหลย้อนเพิ่มขึ้น
(7). หลีกเลี่ยงอาหารบางอย่าง (avoid foods that burn = หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ไหม้ หรือเกิดอาการแสบร้อนในอก)
อาหารบางอย่างทำให้กระเพาะฯ หลั่งกรดออกมามากขึ้น ทำให้อาหารค้างในกระเพาะฯ นานขึ้น หรือทำให้กล้ามเนื้อหูรูดด้านบนกระเพาะฯ คลายตัว (คล้ายๆ กับการเปิดปากถุงทะเล) ผลคือ ทำให้กรดไหลย้อนได้ง่ายขึ้น
ควรลดปริมาณ (ไม่จำเป็นต้องงด ยกเว้นช่วงอาการรุนแรง) อาหารแสลงโรคที่พบบ่อยได้แก่ อาหารไขมันสูง เครื่องเทศบางอย่าง มะเขือเทศ ส้ม ส้มโอ มะนาว กระเทียม หัวหอม นม น้ำอัดลม กาแฟ ชา ชอคโกแลต และมิ้นท์
ควรงดแอลกอฮอล์ (เหล้า เบียร์ ไวน์ ฯลฯ)
(8). เลิกบุหรี่ (stop smoking)
บุหรี่มีสารนิโคตินที่กระตุ้นให้กระเพาะฯ หลั่งกรดมากขึ้น ทำให้ลมในท้องมากขึ้น
(9). เคี้ยวหมากฝรั่ง (chew gum)
หมากฝรั่งเพิ่มการหลั่งน้ำลาย ซึ่งเมื่อกลืนลงไปจะช่วยลดความเข้มข้นของกรดและน้ำย่อยในหลอดอาหาร ทำให้อาการทุเลาลง (ควรลองดู เพราะบางคนก็มีอาการท้องอืดจากน้ำตาลเทียมในหมากฝรั่งได้ - ผู้เขียน)
(10). ปรึกษายากับหมอ (medications)
ยาบางอย่างอาจทำให้อาการแย่ลง เช่น แอสไพริน ยากดการอักเสบหรือ "ยากระดูก" (NSAIDs) ฯลฯ
วิธีง่ายๆ คือ นำยาที่ใช้ทุกชนิดไปให้หมอหรือเภสัชกรที่ดูแลท่านตรวจสอบว่า กินต่อดีหรือไม่
(11). หนุนหัวเตียง (raise your bed's head)
การหนุนขาเตียงด้านหัวเตียงให้สูงกว่าขาเตียงด้านเท้ามักจะทำให้กรดไหลย้อนช่วงนอนลดลง
ไม่ควรหนุนหมอนสูง หรือหนุนหมอนหลายใบแทนการหนุนขาเตียง เนื่องจากอาจทำให้ปวดคอได้
(12). ออกกำลังให้เป็น (exercise wisely = ออกกำลังอย่างฉลาด)ไม่ออกกำลังหลังอาหารทันที ควรรอประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อให้อาหารส่วนใหญ่ไหลลงลำไส้เล็กไปก่อนออกกำลัง
Credit: http://health2u.exteen.com/20090305/gerd
อาหารมื้อเล็กๆ ค้างอยู่ในกระเพาะอาหารไม่นาน อาหารมื้อใหญ่ค้างอยู่นานหลายชั่วโมง ทำให้โอกาสเกิดการไหลย้อน (reflux) เพิ่มขึ้น
ให้ลองกินมื้อเล็กๆ วันละหลายๆ มื้อดู เช่น วันละ 4-5 มื้อเล็กๆ แทน 2-3 มื้อใหญ่ๆ ฯลฯ
(2). ผ่อนคลาย (relax)
ความเครียดทำให้กระเพาะฯ หลั่งกรดออกมามากขึ้น เพราะฉะนั้นขอให้นั่งลง... กินช้าๆ เคี้ยวช้าๆ ไม่รีบร้อน
หลังจากนั้นให้หาอะไรที่คลายเครียดทำเพิ่มขึ้น เช่น ฝึกหายใจช้าๆ ลึกๆ (deep breathing) ฝึกสมาธิ ไทเกก-ไทชิ โยคะ ฯลฯ
(3). ตั้งตัวตรงเข้าไว้ (remain upright)
ให้ตั้งตัวตรง (นั่งหรือยืน) หลังอาหารอย่างน้อย 3 ชั่วโมง นั่นคือ "เพลไม่เพล(เพล = ฉันหรือกินข้าวเที่ยง; ไม่เพล = มื้ออื่นๆ)ก็อย่าเพิ่งเอน"
การนอนหลังอาหาร ก้มตัวลงนานๆ หรือยกของหนักหลังอาหารจะทำให้กรดไหลย้อนได้ง่าย เรื่องนี้เปรียบคล้ายขวดใส่น้ำ... ถ้าจับขวดตั้งไว้ น้ำคงจะไม่หกง่ายๆ แต่ถ้าเอียงขวดลง น้ำจะหกออกจากขวดได้ง่ายขึ้น
(4). อย่ากินมื่อใหญ่ก่อนนอน (avoid eating)
อย่ากินอาหารมื้อใหญ่ก่อนนอนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง
(5). ลดน้ำหนัก (lose weight) ถ้าจำเป็น
น้ำหนักที่เกินจะทำให้ไขมันใต้ผิวหนังรอบพุง และไขมันในช่องท้องเพิ่มขึ้น ทำให้ความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น บีบกระเพาะฯ ทำให้กรดไหลย้อนได้ง่าย
ถ้าช่องท้อง "เบา โล่ง โปร่ง สบาย" หน่อย... โอกาสกรดไหลย้อนจะลดลง
(6). ไม่สวมเสื้อผ้าคับ (loosen up = ทำให้หลวม)
ไม่ควรสวมเข็มขัด รัดประคต(สายคาดเอวพระ) หรือสายคาดเอวแน่น และไม่สวมเสื้อผ้าคับรัดรูป
การสวมเสื้อผ้าคับทำให้แรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น โอกาสเกิดกรดไหลย้อนเพิ่มขึ้น
(7). หลีกเลี่ยงอาหารบางอย่าง (avoid foods that burn = หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ไหม้ หรือเกิดอาการแสบร้อนในอก)
อาหารบางอย่างทำให้กระเพาะฯ หลั่งกรดออกมามากขึ้น ทำให้อาหารค้างในกระเพาะฯ นานขึ้น หรือทำให้กล้ามเนื้อหูรูดด้านบนกระเพาะฯ คลายตัว (คล้ายๆ กับการเปิดปากถุงทะเล) ผลคือ ทำให้กรดไหลย้อนได้ง่ายขึ้น
ควรลดปริมาณ (ไม่จำเป็นต้องงด ยกเว้นช่วงอาการรุนแรง) อาหารแสลงโรคที่พบบ่อยได้แก่ อาหารไขมันสูง เครื่องเทศบางอย่าง มะเขือเทศ ส้ม ส้มโอ มะนาว กระเทียม หัวหอม นม น้ำอัดลม กาแฟ ชา ชอคโกแลต และมิ้นท์
ควรงดแอลกอฮอล์ (เหล้า เบียร์ ไวน์ ฯลฯ)
(8). เลิกบุหรี่ (stop smoking)
บุหรี่มีสารนิโคตินที่กระตุ้นให้กระเพาะฯ หลั่งกรดมากขึ้น ทำให้ลมในท้องมากขึ้น
(9). เคี้ยวหมากฝรั่ง (chew gum)
หมากฝรั่งเพิ่มการหลั่งน้ำลาย ซึ่งเมื่อกลืนลงไปจะช่วยลดความเข้มข้นของกรดและน้ำย่อยในหลอดอาหาร ทำให้อาการทุเลาลง (ควรลองดู เพราะบางคนก็มีอาการท้องอืดจากน้ำตาลเทียมในหมากฝรั่งได้ - ผู้เขียน)
(10). ปรึกษายากับหมอ (medications)
ยาบางอย่างอาจทำให้อาการแย่ลง เช่น แอสไพริน ยากดการอักเสบหรือ "ยากระดูก" (NSAIDs) ฯลฯ
วิธีง่ายๆ คือ นำยาที่ใช้ทุกชนิดไปให้หมอหรือเภสัชกรที่ดูแลท่านตรวจสอบว่า กินต่อดีหรือไม่
(11). หนุนหัวเตียง (raise your bed's head)
การหนุนขาเตียงด้านหัวเตียงให้สูงกว่าขาเตียงด้านเท้ามักจะทำให้กรดไหลย้อนช่วงนอนลดลง
ไม่ควรหนุนหมอนสูง หรือหนุนหมอนหลายใบแทนการหนุนขาเตียง เนื่องจากอาจทำให้ปวดคอได้
(12). ออกกำลังให้เป็น (exercise wisely = ออกกำลังอย่างฉลาด)ไม่ออกกำลังหลังอาหารทันที ควรรอประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อให้อาหารส่วนใหญ่ไหลลงลำไส้เล็กไปก่อนออกกำลัง
Credit: http://health2u.exteen.com/20090305/gerd
วันพฤหัสบดีที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2555
"29 กุมภาพันธ์" ทำไมต้องถึง 4ปี มีครั้งเดียว
29 กุมภาพันธ์ จะมีก็ต่อเมื่อเป็นปีที่หารได้ด้วย 4 ลงตัว กว่าจะมี 29 วัน ก็จะเป็นปี 2012 ซึ่งในประเทศไทยเรียกว่า "ปีอธิกสุรทิน"
"ปีอธิกสุรทิน" คือ ปีที่มีวันหรือเดือนเพิ่มเข้ามา เพื่อทำให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล
ทั้งนี้เป็นผลจากการที่ฤดูกาลและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ไม่ได้วนกลับมาเป็นจำนวนวันที่ลงตัว ใน"ปฏิทินเกรโกเรียน" ซึ่งเป็นต้นแบบของปฏิทินสุริยคติไทยในปัจจุบัน จะเพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์ให้มี 29 วัน
ในปีที่เป็นปีอธิกสุรทิน จึงทำให้ปีอธิกสุรทินมี 366 วัน ใน"ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ" จะกำหนดให้เดือนซุลฮิจญะหฺซึ่งเป็นเดือนสุดท้ายมี 30 วัน จึงทำให้ปีอธิกสุรทินของปฏิทินฮิจเราะหฺมี 355 วันการตรวจสอบว่าปีใดในระบบคริสต์ศักราชเป็นปีอธิกสุรทินหรือไม่ ทำได้โดยการหารปีนั้นด้วย 4 หากหารลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน
อย่างไรก็ตาม ด้วยกฎเหล่านี้จึงทำให้ ค.ศ. 1800, 1900, 2100, 2200 เป็นปีปกติสุรทิน แต่ ค.ศ. 1600, 2000, 2400 เป็นปีอธิกสุรทิน
ทั้งนี้เมื่อเอ่ยถึงคำว่า "อธิกวาร" "อธิกมาส" และ "อธิกสุรทิน" เป็น ไปได้ว่าคนไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันอาจไม่รู้ความหมายของคำเหล่านี้ เพราะเป็นคำที่มีความหมายเข้าใจยาก และเป็นคำที่ไม่ได้ใช้บ่อยครั้งในชีวิตประจำวัน คำทั้งสามคำเหล่านี้เกี่ยวข้องกับปฏิทิน หรือการนับวันเดือนปี ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในวัฒนธรรม ผู้เขียนจึงต้องการอธิบายความหมายของคำเหล่านี้พอเป็นสังเขปเพื่อให้คนที่ ยังไม่รู้จักคำเหล่านี้เข้าใจความหมายเมื่อได้ยินหรืออ่านพบคำดังกล่าวใน สื่อต่างๆ
คำว่า "อธิกวาร" "อธิกมาส" และ "อธิกสุรทิน" ประกอบด้วย คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมด หน่วยหน้าศัพท์ อธิก- (อ่านว่า อะ-ทิ-กะ) ในที่นี้หมายถึง "เกิน, เพิ่ม" ส่วนคำว่า วาร แปลว่า "วัน" มาส แปลว่า "เดือน" คำว่า สุรทิน มาจาก สุร + ทิน ทิน แปลว่า "วัน" สุร ในที่นี้น่าจะแปลว่า "พระอาทิตย์"
ในจำนวนคำทั้งสามดังกล่าว คำว่า อธิกสุรทิน น่าจะเป็นคำที่คุ้นเคยมากที่สุดสำหรับคนไทยปัจจุบัน เพราะเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับปฏิทินแบบสุริยคติ ซึ่งใช้ในสังคมไทยปัจจุบัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของ อธิกสุรทิน ไว้ว่า "วันที่เพิ่มขึ้นในปีสุริยคติ คือในปีนั้นเพิ่มวันเข้าในเดือนกุมภาพันธ์อีกวันหนึ่งเป็น 29 วัน" ตามธรรมดาเดือนกุมภาพันธ์มี 28 วัน ปฏิทินบางฉบับเรียกปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 28 วันว่า "ปีปกติสุรทิน" และเรียกปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ว่า "ปีอธิกสุรทิน"
ปีอธิกสุรทินจะมี 4 ปีครั้ง ปีพ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) เป็นปีอธิกสุรทิน ปีอธิกสุรทินต่อไปคือปีพ.ศ. 2547 ข้อสังเกตง่ายๆว่าปีใดเป็นปีอธิกสุรทินคือให้เอาปีค.ศ. ตั้งหารด้วยเลข 4 ถ้าหารลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน ถ้าหารไม่ลงตัวก็เป็นปีปรกติ เช่นปีค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551) หารด้วยเลข 4 ลงตัว และทั้งหมดเป็นปีอธิกสุรทิน
เหตุที่จะต้องมีปีอธิกสุรทินทุก 4 ปี เพราะตามระบบของปฏิทินทางสุริยคติ จะต้องเพิ่มวันเข้าไป 1 วันเพื่อให้ปีนั้นมี 366 วัน วันที่เพิ่มเข้าไปนี้เรียกว่า "อธิกสุรทิน" การที่ต้องเพิ่มวันเนื่องจากในปีหนึ่งๆนั้นตามความเป็นจริงมีจำนวนวัน 365.25 วัน ไม่ใช่ 365 วันถ้วนอย่างที่เราเข้าใจกันทั่วไป
"ดังนั้นเพื่อรวมเศษที่ตกค้างในแต่ละปีให้เป็น 1 วันได้ก็จะทำได้ทุก 4 ปี ทำให้สะดวกในการนับจำนวนวันในแต่ละปี คือนับจำนวนถ้วนๆ โดยให้ปีที่ 1, 2, และ3 มี 365 วัน และปีที่ 4 มี 366 วัน เป็นดังนี้เรื่อยไป"
"อธิกมาส" และ"อธิกวาร" เป็นคำที่คนไทยสมัยใหม่อาจไม่คุ้นเคยเพราะเกี่ยวข้องกับปฏิทินแบบจันทรคติ ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้อย่างเป็นทางการแล้วในสังคมไทย อย่างไรก็ตามหากเราเข้าใจที่มาหรือเหตุผลของการเพิ่มวันเป็นอธิกสุรทิน ก็คงไม่ยากนักที่จะเข้าใจเหตุผลของการเพิ่มเดือนหรือเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทิน ทางจันทรคติเช่นกัน
"อธิกมาส" หมายถึง เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือในปีนั้นมี 13 เดือน มีเดือน 8 สองหน สาเหตุที่ต้องเพิ่มเดือน 8 เข้าไปอีก 1 เดือน เช่นในปีนี้ (พ.ศ. 2545) ก็เพื่อให้ปฏิทินทางจันทรคติเทียบได้กับปฏิทินทางสุริยคติได้ โดยจำนวนวันไม่ต่างกันมากเกินไป ดังรายละเอียดที่ผเคยอธิบายไว้แล้วในเรื่อง "ปฏิทินไทยดั้งเดิม" ปฏิทินบางฉบับเรียกปีที่มีอธิกมาสหรือปีที่มีเดือน 8 สองหนว่า "ปีอธิกมาส" และเรียกปีที่มีเดือน 8 หนเดียวว่า "ปีปกติมาส"
"อธิกวาร" หมายถึงวันที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือในปีนั้นเดือน 7 เป็นเดือนเต็มมี 30 วัน ตามปรกติเดือนที่เป็นเลขคี่ ในปฏิทินทางจันทรคติจะเป็นเดือนขาด มี 29 วัน และเดือนเลขคู่เป็นเดือนเต็มมี 30 วัน แต่ด้วยเหตุผลทำนองเดียวกันกับการเพิ่มเดือนเป็นอธิกมาส ในรอบประมาณ 5 ปี ปฏิทินทางจันทรคติซึ่งแม้จะมีอธิกมาสแล้ว แต่ก็จะมีจำนวนวัน ต่างจากปฏิทินทางสุริยคติอยู่อีกหนึ่งวัน จึงต้องเพิ่มเสีย เพื่อให้เท่ากัน
โดยเพิ่มวันเข้าไป ในเดือน 7 ทำให้เดือน 7 ในปีนั้นมี 30 วัน วันสุดท้ายของเดือน 7 ดังกล่าวจะเป็นวันแรม 15 ค่ำแทนที่จะเป็นวันแรม 14 ค่ำเหมือนเดือนขาดทั่วไป วันที่เพิ่มเข้าไปนี้เรียกว่า "อธิกวาร" ปีที่มีอธิกวารเรียกว่า "ปีอธิกวาร" ที่ไม่มีเรียกว่า "ปีปกติวาร" คำทั้งสามคำที่ได้อธิบายไปนั้นแสดงให้เห็นว่าคนไทยมีระบบในการนับและการ คำนวณวันเดือนปี ที่น่าสนใจ จึงทำให้คนไทยสามารถเข้าใจความคล้ายคลึงและความมีส่วนร่วมกันของมโนทัศน์ ทั้งสามประการได้เป็นอย่างดี
ส่วนทางฝั่งตะวันตกจะเรียกปีที่มีวันที่ 29 กุมภาพันธ์ว่า "Leap year" และคนโชคดีที่เกิดวันนี้จะถูกเรียกว่า "Leaper" ซึ่งด้วยความแปลกอันนี้ในบางประเทศ เช่น ไอร์แลนด์ รัฐบาลจะให้เงินรางวัลเป็นการเฉลิมฉลองกับครอบครัวที่มีเด็กเกิดในวันนี้เลย ทีเดียว
แม้ว่าความพิเศษของ 29 กุมภาพันธ์จะไม่ได้เป็นวันหยุดทำงานสากล แต่กิจกรรมพิเศษของวันนี้ตามธรรมเนียมของทางตะวันตก ซึ่งริเริ่มในประเทศสกอตแลนด์คือ ผู้หญิงจะได้รับการยินยอมให้เป็นฝ่ายขอผู้ชายไปเดท ขอความรัก หรือแม้กระทั่งขอแต่งงานกับฝ่ายชายได้โดยไม่ขัดกับจารีตธรรมเนียมประเพณีแต่ อย่างใด และ "ถ้าฝ่ายชายปฏิเสธก็ต้องหาผ้าพันคอ หรือถุงมือให้เป็นการปลอบใจ"
Cr.teenee.com
"ปีอธิกสุรทิน" คือ ปีที่มีวันหรือเดือนเพิ่มเข้ามา เพื่อทำให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล
ทั้งนี้เป็นผลจากการที่ฤดูกาลและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ไม่ได้วนกลับมาเป็นจำนวนวันที่ลงตัว ใน"ปฏิทินเกรโกเรียน" ซึ่งเป็นต้นแบบของปฏิทินสุริยคติไทยในปัจจุบัน จะเพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์ให้มี 29 วัน
ในปีที่เป็นปีอธิกสุรทิน จึงทำให้ปีอธิกสุรทินมี 366 วัน ใน"ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ" จะกำหนดให้เดือนซุลฮิจญะหฺซึ่งเป็นเดือนสุดท้ายมี 30 วัน จึงทำให้ปีอธิกสุรทินของปฏิทินฮิจเราะหฺมี 355 วันการตรวจสอบว่าปีใดในระบบคริสต์ศักราชเป็นปีอธิกสุรทินหรือไม่ ทำได้โดยการหารปีนั้นด้วย 4 หากหารลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน
อย่างไรก็ตาม ด้วยกฎเหล่านี้จึงทำให้ ค.ศ. 1800, 1900, 2100, 2200 เป็นปีปกติสุรทิน แต่ ค.ศ. 1600, 2000, 2400 เป็นปีอธิกสุรทิน
ทั้งนี้เมื่อเอ่ยถึงคำว่า "อธิกวาร" "อธิกมาส" และ "อธิกสุรทิน" เป็น ไปได้ว่าคนไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันอาจไม่รู้ความหมายของคำเหล่านี้ เพราะเป็นคำที่มีความหมายเข้าใจยาก และเป็นคำที่ไม่ได้ใช้บ่อยครั้งในชีวิตประจำวัน คำทั้งสามคำเหล่านี้เกี่ยวข้องกับปฏิทิน หรือการนับวันเดือนปี ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในวัฒนธรรม ผู้เขียนจึงต้องการอธิบายความหมายของคำเหล่านี้พอเป็นสังเขปเพื่อให้คนที่ ยังไม่รู้จักคำเหล่านี้เข้าใจความหมายเมื่อได้ยินหรืออ่านพบคำดังกล่าวใน สื่อต่างๆ
คำว่า "อธิกวาร" "อธิกมาส" และ "อธิกสุรทิน" ประกอบด้วย คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมด หน่วยหน้าศัพท์ อธิก- (อ่านว่า อะ-ทิ-กะ) ในที่นี้หมายถึง "เกิน, เพิ่ม" ส่วนคำว่า วาร แปลว่า "วัน" มาส แปลว่า "เดือน" คำว่า สุรทิน มาจาก สุร + ทิน ทิน แปลว่า "วัน" สุร ในที่นี้น่าจะแปลว่า "พระอาทิตย์"
ในจำนวนคำทั้งสามดังกล่าว คำว่า อธิกสุรทิน น่าจะเป็นคำที่คุ้นเคยมากที่สุดสำหรับคนไทยปัจจุบัน เพราะเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับปฏิทินแบบสุริยคติ ซึ่งใช้ในสังคมไทยปัจจุบัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของ อธิกสุรทิน ไว้ว่า "วันที่เพิ่มขึ้นในปีสุริยคติ คือในปีนั้นเพิ่มวันเข้าในเดือนกุมภาพันธ์อีกวันหนึ่งเป็น 29 วัน" ตามธรรมดาเดือนกุมภาพันธ์มี 28 วัน ปฏิทินบางฉบับเรียกปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 28 วันว่า "ปีปกติสุรทิน" และเรียกปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ว่า "ปีอธิกสุรทิน"
ปีอธิกสุรทินจะมี 4 ปีครั้ง ปีพ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) เป็นปีอธิกสุรทิน ปีอธิกสุรทินต่อไปคือปีพ.ศ. 2547 ข้อสังเกตง่ายๆว่าปีใดเป็นปีอธิกสุรทินคือให้เอาปีค.ศ. ตั้งหารด้วยเลข 4 ถ้าหารลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน ถ้าหารไม่ลงตัวก็เป็นปีปรกติ เช่นปีค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551) หารด้วยเลข 4 ลงตัว และทั้งหมดเป็นปีอธิกสุรทิน
เหตุที่จะต้องมีปีอธิกสุรทินทุก 4 ปี เพราะตามระบบของปฏิทินทางสุริยคติ จะต้องเพิ่มวันเข้าไป 1 วันเพื่อให้ปีนั้นมี 366 วัน วันที่เพิ่มเข้าไปนี้เรียกว่า "อธิกสุรทิน" การที่ต้องเพิ่มวันเนื่องจากในปีหนึ่งๆนั้นตามความเป็นจริงมีจำนวนวัน 365.25 วัน ไม่ใช่ 365 วันถ้วนอย่างที่เราเข้าใจกันทั่วไป
"ดังนั้นเพื่อรวมเศษที่ตกค้างในแต่ละปีให้เป็น 1 วันได้ก็จะทำได้ทุก 4 ปี ทำให้สะดวกในการนับจำนวนวันในแต่ละปี คือนับจำนวนถ้วนๆ โดยให้ปีที่ 1, 2, และ3 มี 365 วัน และปีที่ 4 มี 366 วัน เป็นดังนี้เรื่อยไป"
"อธิกมาส" และ"อธิกวาร" เป็นคำที่คนไทยสมัยใหม่อาจไม่คุ้นเคยเพราะเกี่ยวข้องกับปฏิทินแบบจันทรคติ ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้อย่างเป็นทางการแล้วในสังคมไทย อย่างไรก็ตามหากเราเข้าใจที่มาหรือเหตุผลของการเพิ่มวันเป็นอธิกสุรทิน ก็คงไม่ยากนักที่จะเข้าใจเหตุผลของการเพิ่มเดือนหรือเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทิน ทางจันทรคติเช่นกัน
"อธิกมาส" หมายถึง เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือในปีนั้นมี 13 เดือน มีเดือน 8 สองหน สาเหตุที่ต้องเพิ่มเดือน 8 เข้าไปอีก 1 เดือน เช่นในปีนี้ (พ.ศ. 2545) ก็เพื่อให้ปฏิทินทางจันทรคติเทียบได้กับปฏิทินทางสุริยคติได้ โดยจำนวนวันไม่ต่างกันมากเกินไป ดังรายละเอียดที่ผเคยอธิบายไว้แล้วในเรื่อง "ปฏิทินไทยดั้งเดิม" ปฏิทินบางฉบับเรียกปีที่มีอธิกมาสหรือปีที่มีเดือน 8 สองหนว่า "ปีอธิกมาส" และเรียกปีที่มีเดือน 8 หนเดียวว่า "ปีปกติมาส"
"อธิกวาร" หมายถึงวันที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือในปีนั้นเดือน 7 เป็นเดือนเต็มมี 30 วัน ตามปรกติเดือนที่เป็นเลขคี่ ในปฏิทินทางจันทรคติจะเป็นเดือนขาด มี 29 วัน และเดือนเลขคู่เป็นเดือนเต็มมี 30 วัน แต่ด้วยเหตุผลทำนองเดียวกันกับการเพิ่มเดือนเป็นอธิกมาส ในรอบประมาณ 5 ปี ปฏิทินทางจันทรคติซึ่งแม้จะมีอธิกมาสแล้ว แต่ก็จะมีจำนวนวัน ต่างจากปฏิทินทางสุริยคติอยู่อีกหนึ่งวัน จึงต้องเพิ่มเสีย เพื่อให้เท่ากัน
โดยเพิ่มวันเข้าไป ในเดือน 7 ทำให้เดือน 7 ในปีนั้นมี 30 วัน วันสุดท้ายของเดือน 7 ดังกล่าวจะเป็นวันแรม 15 ค่ำแทนที่จะเป็นวันแรม 14 ค่ำเหมือนเดือนขาดทั่วไป วันที่เพิ่มเข้าไปนี้เรียกว่า "อธิกวาร" ปีที่มีอธิกวารเรียกว่า "ปีอธิกวาร" ที่ไม่มีเรียกว่า "ปีปกติวาร" คำทั้งสามคำที่ได้อธิบายไปนั้นแสดงให้เห็นว่าคนไทยมีระบบในการนับและการ คำนวณวันเดือนปี ที่น่าสนใจ จึงทำให้คนไทยสามารถเข้าใจความคล้ายคลึงและความมีส่วนร่วมกันของมโนทัศน์ ทั้งสามประการได้เป็นอย่างดี
ส่วนทางฝั่งตะวันตกจะเรียกปีที่มีวันที่ 29 กุมภาพันธ์ว่า "Leap year" และคนโชคดีที่เกิดวันนี้จะถูกเรียกว่า "Leaper" ซึ่งด้วยความแปลกอันนี้ในบางประเทศ เช่น ไอร์แลนด์ รัฐบาลจะให้เงินรางวัลเป็นการเฉลิมฉลองกับครอบครัวที่มีเด็กเกิดในวันนี้เลย ทีเดียว
แม้ว่าความพิเศษของ 29 กุมภาพันธ์จะไม่ได้เป็นวันหยุดทำงานสากล แต่กิจกรรมพิเศษของวันนี้ตามธรรมเนียมของทางตะวันตก ซึ่งริเริ่มในประเทศสกอตแลนด์คือ ผู้หญิงจะได้รับการยินยอมให้เป็นฝ่ายขอผู้ชายไปเดท ขอความรัก หรือแม้กระทั่งขอแต่งงานกับฝ่ายชายได้โดยไม่ขัดกับจารีตธรรมเนียมประเพณีแต่ อย่างใด และ "ถ้าฝ่ายชายปฏิเสธก็ต้องหาผ้าพันคอ หรือถุงมือให้เป็นการปลอบใจ"
Cr.teenee.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)